<html><head><script type="text/javascript" src="flowplayer-3.2.4.min.js"></script> </head><body> <a href="http://www.xxx.com/x.flv" style="display:block;width:425px;height:300px;" id="player"></a> <script>flowplayer("player", "flowplayer.swf");</script> </body></html>
<embed src="http://www.perlphpasp.com/media/yonok.mpg"; width="235" height="210" border=0 autostart="false" loop="true">
<object id="cam" width="380" height="327"> <param name="rate" value="1"> <param name="balance" value="0"> <param name="currentPosition" value="0"> <param name="playCount" value="1"> <param name="autoStart" value="true"> <param name="currentMarker" value="0"> <param name="invokeURLs" value="true"> <param name="volume" value="100"> <param name="mute" value="false"> <param name="uiMode" value="full"> <param name="stretchToFit" value="false"> <param name="windowlessVideo" value="false"> <param name="enabled" value="true"> <param name="enableContextMenu" value="true"> <param name="fullScreen" value="false"> <param name="enableErrorDialogs" value="false"> <param name="url" value="mms://202.29.78.200:8080"> <param name="_cx" value="6350"> <param name="_cy" value="6482"> </object>
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อตรวจสอบเสียง ภาพ รหัสสไลด์ หัวข้อ และความสมบูรณ์ของคลิปสอนออนไลน์ 2. เพื่อนำโลโก้เข้าไปใส่ในคลิปสอนออนไลน์ (Video On Demand) สิ่งที่คาดหวัง นิสิตได้เรียนผ่าน Video on demand ด้วยคลิปที่มีคุณภาพ และเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกคลิปหัวข้อ สิ่งที่ต้องเตรียม 1. Logo สีขาว และ สีน้ำเงินเข้ม ที่ต้องเลือกให้เหมาะสมกับ background ของแต่ละคลิปหัวข้อ 2. คลิปสอนออนไลน์แบบ MP4 แยกหัวข้อ โดย 1 วิชามีประมาณ 75 ถึง 90 แฟ้มวิดีโอ [insert_logo_in_vod.txt]
1. เปิด Folder ที่เก็บโลโก้ และคลิปสอนออนไลน์ของวิชาหนึ่ง เพื่อตรวจสอบรายชื่อแฟ้ม และจำนวจตามหัวข้อ เช่น Nation-U-original-bw.png และ tha1001_05_00.mp4 ซึ่งต้องมีรายการหัวข้อแนบมาจากผู้สอนใน Excel เช่น หน่วยการเรียนที่ 5 มี 5 หัวข้อ แต่มี 7 คลิป ตามเงื่อนไขของการเตรียม VOD คือเพิ่มบทนำ และสรุป 2. เปิดโปรแกรม Camtasia แล้วเลือก Import media (Ctrl+I) จะเลือกทุกแฟ้มมาในครั้งเดียว หรือเฉพาะบางแฟ้มก็ได้ เพราะทำงานครั้งละ 1 คลิป กับ 1 โลโก้ 3. กด right click บนแฟ้ม tha1001_05_00.mp4 แล้วเลือก Add to Timeline at Playhead ผลคือมีคลิปถูกวางไว้ทั้งบน Timeline ที่ Track1 และบน Canvas display 4. ตรวจสอบขนาด Dimension ของคลิป และปรับให้เป็น 1280 * 720 หรือประสานผู้สอนให้ปรับใหม่ 5. กด right click บนแฟ้ม Nation-U-original-bw.png แล้วเลือก Add to Timeline at Playhead ผลคือ โลโก้ จะไปวางบน Track2 และวางทับบน คลิปวิดีโอ ก่อนหน้านี้ 6. ไปลดขนาด และย้ายโลโก้ใน Canvas display ให้มีขนาดพอเหมาะอยู่ที่มุมบนขวาของคลิป 7. มาที่ Timeline ขยายเวลาของ โลโก้ ให้เท่ากับคลิปเพื่อแสดงผลตลอดทั้งคลิป 8. คลิ๊กที่ โลโก้ และ Transition เลือก Fade แล้วกด Right click บน Fade เลือก Add to selected media ผลคือ โลโก้จะค่อย ๆ ปรากฎเมื่อเริ่มต้นคลิปการสอน และค่อย ๆ หายไปก่อนจบคลิป 9. หากมีช่วงเวลาที่ต้องการตัดออก เริ่มจากเลือน Marker ใน Timeline ไปที่จุดเริ่มตัด (start) แล้วลากจุดสีแดงไปถึงจุดที่สิ้นสุดการตัด (stop) โดยจุดสีเขียวอยู่ที่จุดเริ่มตัดเหมือนเดิม เมื่อย้ายแล้ว ทดสอบ play ได้ว่าจะตัดอะไร และขยับจุดเขียวแดงจนกว่าจะลงตัว จากนั้นคลิปปุ่ม cut บนแถบ timeline ช่วงที่ต้องการตัดจะหายไป 10. การปรับ Audio กรณีผู้สอนพูดเสียงดังหรือเบาเกินไป คลิ๊กไปบนคลิปวิดีโอใน Timeline ให้เลือก Audio แล้วคลิ๊ก Enable volumne Leveling จะทำให้เสียงดังคงที่ 11. กรณีฟังเสียงแล้ว พบว่ามีเสียงรบกวน คลิ๊กไปบนคลิปวิดีโอใน Timeline ให้เลือก Audio แล้วคลิ๊ก Enable noise removal เลือก Auto noise training จะลดเสียงรบกวนอัตโนมัติ สั่ง Volumne down หรือ Volumne up ได้ตามความเหมาะสม 12. ทำการบันทึก Project เพื่อให้สามารถเปิดมาแก้ไขได้ในภายหลัง ตั้งชื่อให้ตรงกับแฟ้มเดิม คือ tha1001_05_00.camproj ป้องกันการสับสน 13. เลือก Produce and share (Ctrl+P) เลือกแบบ MP4 only (up to 720p) = 1280 * 720 เลือกบันทึกใน Folder : ftp_tha1001 หรือตามชอบ และแฟ้มนี้ชื่อ tha1001_05_00.mp4 เป็นชื่อเดิมกับของผู้สอนที่เตรียมส่งขึ้นระบบ แม้จะเป็นชื่อเดิม แต่ก็อยู่ใน Folder ใหม่ที่เตรียมส่งเข้าระบบ FTP เพื่อเผยแพร่ให้นิสิตเรียนแบบ VOD 14. กรณีต้องการทำงานผ่าน Batch Production ให้ข้ามข้อ 13 แล้วทำกับคลิปต่อไปจะได้ project ทั้งหมด เช่น tha1001_05_00.camproj ถึง tha1001_05_07.camproj จากนั้นกด Tools, Sharing, Batch Production และ Add files/projects... เลือก project ทั้งหมด ที่สำคัญมาก ๆ อย่าเลือก folder ที่เก็บแฟ้มต้นฉบับจากผู้สอนให้สร้าง folder แยก เช่น ftp_tha1001 เป็นต้น ผลการ process จะแยก folder ให้แต่ละคลิปที่ produce สำเร็จ ก็จะมีแฟ้ม mp4 ในแต่ละ folder เป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนทำการส่งผ่าน FTP เพื่อเผยแพร่ในระบบต่อไป
คำตอบ คือ ระบบคาราโอเกะ ที่ใช้ไฟล์เพลงแบบไฟล์มิดี้ ซึ่งมีข้อดีกว่า ระบบ VCD Karaoke ดังนี้ คือ สามารถปรับแต่งดนตรี ได้เช่น ปรับแต่ง ความเร็ว หรือ ช้าของจังหวะดนตรี ปรับเปลี่ยนตีย์ของดนตรี ได้ตามต้องการ ในขณะที่คุณภาพ เสียงไม่เปลี่ยน ซึ่งต่างจากระบบ VCD Karaoke ที่จะทำให้เสียงเพี้ยนไปเลย มีลูกเล่น ในการใช้งาน ได้มากกว่า เช่น การคิวเพลง , การนำภาพอื่นๆ มาซ้อนเช่น นำภาพที่ถ่ายจากล้องดิจิตอลมาซ้อน หรือ นำหนังภาพยนต์ จาก VCD หรือ หนังจากการรายการทีวีมาซ้อนภาพ ทำให้การร้องเพลง คาราโอเกะ สนุกและตื่นเต้น กว่า ระบบเดิม สามารถปิด เปิด เครื่องดนตรี แต่ละชิ้นได้
คำตอบ คือ Sound card รุ่นที่มีตารางเสียงของเครื่องดนตรี อยู่ในตัว Sound card พร้อมตัว DSP ( Digital signal processing ) อยู่ใน Sound card ซึ่งจะมีประโยชน์คือ ให้คุณภาพของเสียง ดีกว่า Software wavetable และไม่กินกำลัง การทำงานของเครื่อง ( กำลังชอง intel cpu)
คำตอบ คือ โปรแกรม ที่ install บน เครื่อง โดยมีการจำลองเสียงเครื่องดนตรีต่างๆ โดยไม่จำเป็นต้องซื้อ Sound card ราคาแพง ๆ ถามว่า คุณภาพสู้ hardware wavetable ได้หรือเปล่า ตอบได้เลยว่า ถ้ามี hardware wavetable ดีๆแล้ว เสียงคนละเรื่องครับ