ปรับปรุง : 2564-11-18 (มาร์คดาวน์) |
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์Website Design and DevelopmentThaiall.com/php 3(2-2-5)ปรับปรุง 6 สิงหาคม 2563 |
โฮมเพจที่เกี่ยวข้อง |
เอกสาร Manual ภาษา PHP
|
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บไซต์และอินเทอร์เน็ต
|
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต [1]
|
กำเนิดอินเทอร์เน็ต (1/4)
|
วิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (2/4)
|
วิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (3/4)
|
วิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (4/4)ในความเป็นจริงไม่มีใครเป็นเจ้าของอินเทอร์เน็ต และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกำหนดมาตรฐานใหม่ ผู้ติดสิน ผู้เสนอ ผู้ทดสอบ ผู้กำหนดมาตรฐานก็คือผู้ใช้ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ก่อนประกาศเป็นมาตรฐานต้องมีการทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้นก่อน ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain Name ก็จะยึดตามนั้นต่อไป เพราะอินเทอร์เน็ตเป็นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลพื้นฐานอาจต้องใช้เวลา |
ยุคแรกของอินเทอร์เน็ต เชื่อม SRI, UCLA, UCSB , Utah |
เว็บไซต์และโดเมนเนม [2]
|
เครื่องบริการ [3]เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)
|
โครงสร้างของเว็บไซต์ |
User และ Web server |
XAMPP
|
การใช้งาน Apache |
Port ที่น่าสนใจ เช่น 3306 |
ตัวแปลภาษา [4]ประวัติของภาษาพีเอชพี (PHP Language History)
|
การแปลของภาษา PythonDOS> cd C:\Users\burin\AppData\Local\Programs\Python\Python38\ DOS> dir python.exe (99912) DOS> python -V (3.8.1) DOS> echo print(5); > x.py DOS> python x.php Output : 5 |
ตัวอย่างหน้าจอของ Python Command Line |
หน่วยที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม
|
วงจรชีวิตการพัฒนาระบบ [1]ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
|
ภาษาคอมพิวเตอร์ [2]ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) คือ ภาษาที่ใช้ หรือเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมักใช้ร่วมกับภาษาโปรแกรม แต่ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นมีความหมายที่กว้างกว่า โดยไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นภาษาโปรแกรม ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าภาษาอย่าง HTML หรือ Batch หรือ SQL ไม่ใช่ภาษาโปรแกรม แต่ถือว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์. |
ภาษาเฮชทีเอ็มแอลภาษาเฮชทีเอ็มแอล (HTML = HyperText Markup Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) เริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) ในปัจจุบัน HTML ล่าสุดคือ รุ่น 5 เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML รุ่นแรกคือ 1.0 (ม.ค.2543) ซึ่งมีโครงสร้างเป็นแบบ XML (eXtensible Markup Language) |
ตัวอย่างคำสั่งในภาษา HTML สวัสดีชาวโลก<html> <head> <title>Hello World</title> </head> <body> Hello World </body> </html>
|
ภาษาเอสคิวแอลเอสคิวแอล (SQL = Structured Query Language) คือ ภาษาสอบถามข้อมูล หรือภาษาจัดการข้อมูลอย่างมีโครงสร้าง มีการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมฐานข้อมูลที่รองรับมากมาย เพราะจัดการข้อมูลได้ง่าย เช่น MySQL, MariaDB, MsSQL, PostgreSQL หรือ MS Access เป็นต้น สำหรับโปรแกรมฐานข้อมูลที่ได้รับความนิยมคือ MySQL หรือ MariaDB เป็น Open Source ที่ใช้งานได้ทั้งใน Linux และ Windows
|
ตัวอย่างคำสั่งในภาษา SQL ประมวลผลข้อมูลcreate table a (a1 int, a2 char(20)); insert into a values (1, "abc"); insert into a (a2, a1) values ("abc",1); select * from a; delete from a where a1=1; update a set a2="a",a3=123 where a1=1 and a4=2; select * from a order by a2; |
ภาษา BatchBAT file หรือ BATCH file คือ แฟ้มแบบหนึ่งใน DOS หรือ OS/2 ที่สามารถประมวลผลได้ โดยการระบุคำสั่งที่ต้องการให้ดำเนินการเข้าไป และชื่อสกุลของแฟ้มนี้คือ .bat สามารถสร้างขึ้นด้วย Text Editor ซึ่งไมโครซอฟท์วินโดว์ให้การสนับสนุนแบทซ์ไฟล์ ในระบบปฏิบัติการ Linux เรียกว่า Shell script สามารถเขียนรายการคำสั่ง เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ DOS> echo ^<a href=a.htm^>a^</a^> > a.htm DOS> explorer a.htm |
ตัวอย่างคำสั่งในภาษา Batch สั่งแปลโปรแกรมด้วยภาษา Java@echo off REM DOS> boy.bat cd c:\j2sdk1.4.2_03\bin\ echo class boy2 { > boy2.java echo public static void main(String args[]) { >> boy2.java echo System.out.println("oho batch file"); } } >> boy2.java javac boy2.java java boy2 |
ตัวอย่างคำสั่งในภาษา Batch สั่งแปลโปรแกรมภาษา MarkdownDOS> notepad tec.md DOS> pandoc tec.md -o tec.pptx DOS> tec.pptx |
ตัวอย่างภาษา Markdown# header1 - topic 1 - topic 2 - [ open lesson 1 ] ( http://x.com/lesson1 ) ! [ image ] ( http://x.com/lesson1.png ) |
ภาษาโปรแกรม [3]การโปรแกรม (Programming) คือ การกำหนดขั้นตอนให้กับคอมพิวเตอร์ทำงานตามลำดับและรูปแบบที่กำหนด ดังนั้นการโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การใช้ภาษาคอมพิวเตอร์มากำหนดขั้นตอน และถูกแปลด้วยตัวแปลภาษา ซึ่งต้องมีรูปแบบ และกระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ <?php $n = $_GET["id"]; if($n > 0) echo $n; else echo "zero"; ?> |
ภาษาโปรแกรมภาษาโปรแกรม (Program Language) คือ วิธีการมาตรฐานในการสื่อสารสำหรับแสดงคำสั่งไปยังคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมกำหนดไวยากรณ์และการตีความหมายจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้น ภาษาโปรแกรมทำให้โปรแกรมเมอร์สามารถระบุอย่างชัดเจนถึงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์จะทำงาน และวิธีการที่คอมพิวเตอร์จะประมวลผลข้อมูลเหล่านั้น ตัวอย่างภาษาโปรแกรม เช่น PHP, Python, C, Perl, Pascal, Cobol, ASP, JSP, Java, Javascript, Basic |
ภาษาพีเอชพีภาษาพีเอชพี (PHP Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทโอเพนท์ซอร์ท (Open Source Computer Language) สำหรับพัฒนาเว็บเพจแบบไดนามิก เมื่อเครื่องบริการได้รับคำร้องจากผู้ใช้ก็จะส่งให้กับ ตัวแปลภาษา ทำหน้าที่ประมวลผลและส่งข้อมูลกลับไปยังเครื่องของผู้ใช้ที่ร้องขอ ในรูปเอชทีเอ็มแอล ภาพ หรือแฟ้มดิจิทอลอื่นใด ลักษณะของภาษามีรากฐานคำสั่งมาจากภาษาซี เป็นภาษาที่สามารถพัฒนาให้ใช้งานแบบโต้ตอบกับผู้ใช้ได้
|
ภาษาไพทอนภาษาไพทอน (Python Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทโอเพนท์ซอร์ท (Open Source Computer Language) สำหรับพัฒนาแอพพลิเคชั่นโดยไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์ม (Platform) และใช้ในงานได้หลายประเภท ทั้งใช้ในการประมวลผลผ่านคอมมานด์ไลน์ หรือเป็นเว็บเพจแบบไดนามิก เมื่อเครื่องบริการได้รับคำร้องจากผู้ใช้ก็จะส่งให้โค้ดให้กับตัวแปลภาษา เพื่อทำหน้าที่ประมวลผลและส่งข้อมูลกลับไปยังเครื่องของผู้ใช้ที่ร้องขอ ในรูปข้อความเอชทีเอ็มแอล ภาพ หรือแฟ้มดิจิทอลอื่นใด ลักษณะของภาษามีรากฐานคำสั่งมาจากภาษาซี เป็นภาษาที่สามารถพัฒนาให้ใช้งานแบบโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ จุดที่แตกต่างกับภาษาอื่น คือ การรวบรวมจุดเด่นของแต่ละภาษามารวมเข้าด้วยกัน
|
ภาษาไพทอนภาษาไพทอน เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ที่สร้างโดย กีโด ฟาน รอสซัม (Guido van Rossum) ชาวเนเธอร์แลนด์ ในธันวาคม พ.ศ. 2532 (ค.ศ.1989) ปัจจุบันดูแลโดย มูลนิธิซอฟต์แวร์ไพทอน ซึ่งที่มาของชื่อ Python น่าจะมาจากรายการโทรทัศน์ Monty Python's Flying Circus ที่ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสนุกที่ได้ใช้ (fun to use) แต่ผู้สร้างบอกว่าชื่อนี้ไม่ได้มาจากงู แต่โลโก้ของภาษาเป็นรูปงู 2 ตัว |
ตัวอย่างภาษาไพทอนfrom turtle import * color('blue') forward(100) left(90) forward(100) left(90) forward(100) left(90) forward(100) left(90) |
ตัวอย่างภาษาไพทอน |
ตัวอย่างภาษาใน Programminghub.io |
จุดเด่นของไพทอน
|
ภาษาจาวาจาวา (Java) คือ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นโดยซันไมโครซิสเต็มส์ (Sun Microsystems Inc.) ต่อมาถูกซื้อโดยออราเคิล คอร์ปอเรชั่น (Oracle Corp.) เป็นภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง มีลักษณะสนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมถูกสร้างภายในคลาส (Class) มีพฤติกรรม (Behavior) ถูกเขียนไว้ใน method โดยปกติจะเรียกแต่ละ class ว่า object โดยแต่ละ object มีสถานะ พฤติกรรม และตัวแปร โปรแกรมที่สมบูรณ์มาจากหลาย object/class โดยแต่ละ class จะมี method หรือ behavior แตกต่างกันไป (ปี 2009 บริษัทซัน ถูกซื้อโดย Oracle) |
ตัวอย่างภาษาจาวาDOS> javac j0100.java DOS> java j0100 abc def public class j0100 { public static void main(String args[]) { System.out.println(args.length); // 2 System.out.println(args[0]); // abc } } |
ภาษาจาวาสคริ๊ปภาษาจาวาสคริปต์ (Javascript) คือ ภาษาโปรแกรมคล้ายภาษาซี ถูกใช้ร่วมกับภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) ในการพัฒนาเว็บเพจ โดยประมวลผลในเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ (Client) ช่วยในการสร้างปฏิสัมพันธ์แบบโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) คือ ภาษาโปรแกรมที่มีโครงสร้างคล้ายภาษาซี ทำหน้าที่แปลความหมาย และดำเนินการทีละคำสั่ง ภาษานี้มีชื่อเดิมว่า LiveScript ถูกพัฒนาโดย Netscape Navigator เพื่อช่วยให้เว็บเพจสามารถแสดงเนื้อหา ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามเงื่อนไข หรือเปลี่ยนตามสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน หรือโต้ตอบกับผู้ใช้ได้มากขึ้น เพราะภาษา HTML ที่เป็นภาษาพื้นฐานของเว็บเพจ ทำได้เพียงแสดงข้อมูลแบบคงที่ (Static Display) React Native คือ การใช้ภาษา Javascript เป็นหลัก สำหรับสร้าง Mobile Application ทั้งบน iOS และ Android เป็น Cross Platform Technology ถูกสร้างโดยทีมงาน Facebook เป็น Open Source ที่มีนักพัฒนาสามารถสร้าง Library และเผยแพร่ให้ได้จำนวนมาก โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ส่วน React หรือ ReactJS คือ A JavaScript library for building user interfaces คล้ายกับ React Native ต่างกันที่วิธีการเขียน Component และ Execution |
ตัวอย่างภาษาจาวาสคริ๊ป<script language=javascript> function j() { document.x.y.value = "abc"; alert("abc"); } </script> <form name=x> <input name=y> <input type=checkbox onclick=javascript:alert("ok");> <input type=checkbox onclick=javascript:document.x.y.value="nation";> <input type=checkbox onclick=javascript:document.x.y.value="lampang";> <input type=checkbox onclick=j();> </form> |
อัลกอริทึม (Algorithm)คือ กระบวนการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน หรือขั้นตอนวิธีอย่างมีลำดับ คือ กลุ่มของขั้นตอนวิธี หรือกฎเกณฑ์ที่จะนำพาไปสู่การแก้ปัญหา คือ ขั้นตอนวิธีที่ประกอบด้วยชุดคำสั่งเป็นขั้นเป็นตอนที่ชัดเจน และรับประกันว่าเมื่อปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขั้นตอนจนครบ จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตามที่ต้องการ คือ รูปแบบของการกำหนดการกระทำอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งผ่านการวิเคราะห์และแยกแยะ เพื่อการแก้ปัญหาตามลำดับขั้น อาจเลือกใช้ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เพื่อนำเสนอให้เข้าใจเป็นขั้นตอน |
การเขียนเว็บเพจ [4]
|
List of HTML tag (1/2)
|
List of HTML tag (2/2)
|
โปรแกรมบราวเซอร์ [5]เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ (Web Browser) คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้ดูข้อมูล และโต้ตอบกับข้อมูลในหน้าเว็บเพจที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล โดยข้อมูลได้รับมาจากการร้องขอ (Request) และตอบกลับ (Response) จากเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)
|
หน่วยที่ 3 ตัวแปร และชนิดของข้อมูล
|
ประเภทของข้อมูล [1]PHP supports the following data types:
|
ตัวดำเนินการ [2]
การแปลงชนิดของข้อมูล [3]
|
รหัสแฟ้มข้อมูล [4]
|
หน่วยที่ 4 การควบคุมโครงสร้างของโปรแกรม
|
การทำงานแบบตามลำดับ [1]การทำงานแบบตามลำดับ (Sequence)
|
การโปรแกรมโครงสร้าง (Structure programming)การโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง หรือ การโปรแกรมโครงสร้าง คือ การกำหนดขั้นตอนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานโดยมีโครงสร้างการควบคุมพื้นฐาน 3 หลักการ ได้แก่ การทำงานแบบตามลำดับ (Sequence) การเลือกกระทำตามเงื่อนไข (Decision) และ การทำซ้ำ (Loop)
|
การเลือกกระทำตามเงื่อนไข [2]การเลือกกระทำตามเงื่อนไข (Decision)
|
การทำซ้ำ [3]การทำซ้ำ (Repeation หรือ Loop)
|
หน่วยที่ 5 การรับ ประมวลผล และแสดงผล
|
ฟอร์มรับข้อมูล [1]<form action="welcome.php" method="post"> Name: <input type="text" name="name"><br> E-mail: <input type="text" name="email"><br> <input type="submit"> </form> |
get และ post [2]<form action="welcome.php" method="get"> Name: <input type="text" name="name"><br> E-mail: <input type="text" name="email"><br> <input type="submit"> </form> |
การรับส่งค่าระหว่างโปรแกรม [3]<form action="welcome.php" method="post"> Name: <input type="text" name="name"><br> E-mail: <input type="text" name="email"><br> <input type="submit"> </form> |
หน่วยที่ 6 คอนโทล
|
text [1]<form action="welcome.php" method="post"> Name: <input type="text" name="name"><br> E-mail: <input type="text" name="email"><br> <input type="submit"> </form> |
radio และ checkbox [2]<input type="radio" name="gender" value="female">Female <input type="radio" name="gender" value="male">Male <input type="radio" name="gender" value="other">Other |
select [3]<select name=d size=4> <option value=th>Thailand <option value=us selected>United State <option value=jp>Japan </select> |
textarea [4]<textarea name=e rows=4 cols=20> hello </textarea> |
button และ submit [5]<form action=next.php method=post> <input type='button' onclick="location.href='back.php'" value='back'> <input type=submit> </form> |
หน่วยที่ 7 ฟังก์ชัน
|
การเขียนฟังก์ชัน [1]xTime("start"); function xTime ($action) { echo $action; } |
ตัวแปรภายในฟังก์ชัน [2]$gap = 0; xTime("start"); // start process for($i=1;$i<=5;$i++) sleep(1); // Delay 5 seconds xtime("stop"); // stop process echo number_format($gap,9) . " seconds"; // 9 function xTime ($action) { global $gap; list($microsecond,$second) = preg_split('/ /',microtime()); // echo $microsecond; // 0.61209100 if ($action == "start") $gap = $second + $microsecond; else $gap = $second + $microsecond - $gap; } Test on PHP 5.6, 7.0 at http://phptester.net/ Gap = 5.000725985 seconds |
การเรียกใช้ฟังก์ชัน [3]xTime("start"); function xTime ($action) { echo $action; } |
หน่วยที่ 8 การอินคลูดสคลิ๊ป
|
การอินคลูด และการรีไคว [1]
|
การอินคลูดinclude ('footer.php'); |
การรีไคว#test.php echo "ถูกนำเข้าครั้งที่ $i <br/>"; #require.php for($i=1;$i<=5;$i++) require("test.php"); #require_once.php for($i=1;$i<=5;$i++) require_once("test.php"); |
เฮดเดอร์ [2]if (isset($_GET['codes'])) header("Location: http://yn1.yonok.ac.th/catalog/subjdesc.php?codes=" . $_GET['codes']); else header("Location: http://yn1.yonok.ac.th/catalog/subjdesc.php") |
เซสชั่น [3]
session_start(); $_SESSION["a"] = 5; foreach ($_SESSION as $k=>$v) { echo $_SESSION["$k"]; } foreach ($_SERVER as $k=>$v) { echo $k . $_SERVER["$k"]; } foreach ($_ENV as $k=>$v) echo $k." = ".$v."<br>"; phpinfo(); |
หน่วยที่ 9 ระบบฐานข้อมูล
|
มายเอสคิวแอล [1]มายเอสคิวแอล (MySQL)
เอสคิวแอล (SQL)
|
คำสั่งเอสคิวแอล [3]create table a (a1 int, a2 char(20)); insert into a values (1, "abc"); insert into a (a2, a1) values ("abc",1); select * from a; delete from a where a1=1; update a set a2="a",a3=123 where a1=1and a4=2; select * from a order by a2; |
พีเอชพีมายแอดมิน [2]phpMyAdmin (phpMyAdmin is intended to handle the adminstration of MySQL over the WWW.) คือ php script ที่ run อยู่บน Web Server ใช้สำหรับบริหารข้อมูลใน MySQL บน host ใด ๆ ถ้า MySQL จากเครื่องเป้าหมายยอมให้เข้าไปจัดการข้อมูลจากเครื่อง Remote ฟังก์ชัน
|
หน่วยที่ 10 การเลือกข้อมูล
|
การเลือกแบบไม่มีเงื่อนไข [1]select * from employees; |
การเลือกแบบมีเงื่อนไข [2]delete from a where a1=1; update a set a2="a",a3=123 where a1=1and a4=2; select * from a order by a2; |
การทำงานร่วมกับฟอร์ม [3]<form name=x> <input name=y> <input type=submit> </form> |
หน่วยที่ 11 การจัดการข้อมูลตามเงื่อนไข
|
การเชื่อมสองตาราง [1]select orderd.*, pro.* from (orderd inner join pro on orderd.pro = pro.pro) order by orderd.orderid; |
การเชื่อมสองตารางแบบมีเงื่อนไข [2]select orderd.*, pro.* from (orderd inner join pro on orderd.pro = pro.pro) order by orderd.orderid where orderd.orderid > 100; |
การเชื่อมหลายตาราง [3]SELECT orderm.orderid, orderm.orderdate, orderm.ordertime, cust.cust, cust.custname, orderd.pro, pro.proname, orderd.price, orderd.quan, pro.price, pro.prorest FROM (orderd INNER JOIN pro ON orderd.pro = pro.pro) INNER JOIN (cust INNER JOIN orderm ON cust.cust = orderm.cust) ON orderd.orderid = orderm.orderid; |
หน่วยที่ 12 ระบบเมนู
|
การออกแบบเว็บเพจด้วย CSS [1].myclass{color:yellow;} |
เมนูแบบรายการ [2] |
เมนูแบบดึงลง [3] |
การใช้ Library [4] |
หน่วยที่ 13 จาวาสคลิ๊ปไลเบอรี่
|
การเขียน Javascript [1]<script language=javascript> alert("abc"); </script> |
การใช้ Jquery [2]<!DOCTYPE html> <html><head> <script src="https://ajax.googleapis.com/ajax/libs/jquery/3.5.1/jquery.min.js"></script> <script> $(document).ready(function(){ $("p").click(function(){ $(this).hide(); }); }); </script></head><body> <p>If you click on me, I will disappear.</p> <p>Click me away!</p> <p>Click me too!</p> </body></html> |
การใช้ Bootstrap [3]<link rel="stylesheet" href="http://netdna.bootstrapcdn.com/bootstrap/3.0.0/css/bootstrap-glyphicons.css"> <span class="glyphicon glyphicon-heart" style="color:red;"></span> |
หน่วยที่ 14 แฟ้มข้อมูลข้อความ
|
การอ่านแฟ้มข้อความและการจัดการอาร์เรย์ [1]$ar = file("http://www.youtube.com"); foreach ($ar as $value) { echo $value; } |
การเปิดแฟ้มข้อความเพื่ออ่าน [2]header("Content-Type: image/gif"); $fn=fopen("ta5.gif","r"); fpassthru($fn); |
การเปิดแฟ้มข้อความเพื่อเขียน [3]$r = fopen("mas1.dat","r"); // input file $o = fopen("mas1.txt","w"); // output file $v = fread($r, 16); // skip head for ($i=1;$i<=200;$i++) { $v = fread($r, 36); fwrite($o, $v.chr(10)); } fclose($o); fclose($r); |
หน่วยที่ 15 กรณีศึกษา
|
ระบบจัดการข้อมูล [1]
|
ระบบสมาชิก [2]
|
ระบบเว็บบอร์ด [3]
|
End
|
โครงงานระบบสั่งซื้อบริษัท Northwind (1/4)กิจกรรมที่ต้องมีในตัวโครงงาน
|
โครงงานระบบสั่งซื้อบริษัท Northwind (2/4)
|
โครงงานระบบสั่งซื้อบริษัท Northwind (3/4)
|
โครงงานระบบสั่งซื้อบริษัท Northwind (4/4)
|
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (1/6)
|
ทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (2/6)
|
ทักษะสำคัญที่คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญมาก (3/6)
|
ทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (4/6) |
ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (5/6)
|
ทักษะจำเป็น เพื่อก้าวสู่การเป็นพลเมืองดิจิทัล (6/6) |
5 ซอฟต์สกิล และ 5 ฮาร์ดสกิล เพื่อได้งานและรักษางาน
|
5 ซอฟต์สกิล และ 5 ฮาร์ดสกิล เพื่อได้งานและรักษางาน |
สุดยอด 3 เรื่องเล่าเร้าพลังใจ
|
|
"ไม่เริ่มต้นในวันนี้ จะไม่มีทางสำเร็จในวันพรุ่ง" โดย โยฮัน ว็อล์ฟกัง ฟ็อน เกอเทอ |